การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit – EAS)

• นอกจากอาเซียนจะมีความรวมมือกับจีน ญี่ปุน และเกาหลีใตเปนรายประเทศ (ดูคำอธิบายในหัวขอ ‘กลุม/ประเทศคูเจรจาของอาเซียน’) และในกรอบความรวมมือ ‘อาเซียน +3’  (ดูคำอธิบายในหัวขอ ‘กรอบความรวมมืออาเซียน + 3’) แลว ในทุกป ผูนำของประเทศสมาชิกอาเซียนยังมีโอกาสได            พบกับผูนำของจีน ญี่ปุน และเกาหลีใต และอีกหลายประเทศรอบๆ อาเซียน ในอีกเวทีหนึ่ง คือ                     ‘การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก’ (East Asia Summit)

• อันที่จริงแลว หลายฝายในอาเซียน รวมถึงกลุมผูทรงคุณวุฒิของอาเซียนซึ่งไดรับจัดตั้งขึ้น         โดยสมาชิกอาเซียนเพื่อศึกษาแนวทางที่เหมาะสมในการพัฒนาความรวมมือเอเชียตะวันออก ไดเสนอให  “การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก” เปนวิวัฒนาการขั้นสุดทายของการประชุมสุดยอดอาเซียน + 3          (การประชุมระหวางประเทศอาเซียนกับจีน ญี่ปุน และเกาหลีใต) แตฝายกำหนดนโยบายของอาเซียน          เห็นวา การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ควรเปดกวางใหประเทศอื่นที่มีบทบาทในอาเซียนและเอเชียตะวันออกนอกเหนือจากประเทศ + 3 (จีน ญี่ปุน และเกาหลีใต) เขารวมดวย ดังนั้น ในการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ครั้งแรก ซึ่งมีขึ้นเมื่อป 2548 ที่กรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย จึงมีประเทศที่เขารวม 16 ประเทศ ไดแก ประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ จีน ญี่ปุน เกาหลีใต อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด ทั้งนี้ ประธานาธิบดีรัสเซีย (ซึ่งมีความประสงคจะเขารวมเปนสมาชิกของการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก แตประเทศสมาชิกอาเซียนยังคงเห็นแตกตางกันอยูเกี่ยวกับการเขารวมฯ ของรัสเซีย) ไดรับเชิญใหเขารวมการประชุมครั้งนี้ในฐานะแขกของเจาภาพ

• ขอแตกตางที่สำคัญระหวาง “การประชุมสุดยอดอาเซียน +3” กับ “การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก” ไดแก การที่กรอบความรวมมืออาเซียน + 3 จะเปนเวทีสำหรับความรวมมือที่มีเฉพาะประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเขารวม โดยมีเปาหมายระยะยาวคือ การทำใหประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกมีความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันมากขึ้น หรือที่มีชื่อเรียกอยางเปนทางการวาการเปน “ประชาคมเอเชียตะวันออก” ในขณะที่ “การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก” จะเปนเวทีสำหรับการหารือทางยุทธศาสตรที่เปดกวางใหประเทศที่ตั้งอยูภายนอก แตมีความสนใจและมีบทบาทในภูมิภาคอาเซียนและเอเชียตะวันออก เขามามีสวนรวมในกรอบความรวมมือตางๆ ของเอเชียตะวันออก

• แมวาการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก เพิ่งมีขึ้นเพียง 3 ครั้ง ในป 2548 และ 2550 (2 ครั้ง) แตก็สามารถมีผลลัพธที่เปนรูปธรรมหรือผลที่สามารถนำไปศึกษาพัฒนาตอไปหลายเรื่อง เชน                         (1) ความรวมมือดานพลังงานและสิ่งแวดลอม ซึ่งผูนำประเทศที่เขารวมในการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกในเดือนมกราคม 2550 ไดลงนามในความตกลงที่จะสงเสริมความรวมมือและใหความชวยเหลือซึ่งกันและกันในดานพลังงานและสิ่งแวดลอม และ (2) ความรวมมือดานเศรษฐกิจและการคา ซึ่งประเทศที่เขารวมฯ ไดเห็นชอบรวมกันเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2550 ใหศึกษาความเปนไปไดในการจัดทำความตกลงเพื่อเสริมสรางปริมาณการคาและการลงทุนระหวางกัน

• ในการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ครั้งที่ 4 ที่ไทยจะเปนเจาภาพในเดือนคมเมษายน 2552 เรื่องการจัดการภัยพิบัติและโรคระบาด จะเปนหนึ่งในวาระที่ที่ประชุมฯ หยิบยกขึ้นหารือเพื่อเสริมสรางความรวมมือระหวางกันในเรื่องนี้ดวย

ที่มา:http://asean.jsforeign.com/eas

ใส่ความเห็น